ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การคิดเชิงระบบ | System Thinking


BUU

คำอธิบายรายวิชา

ความหมาย หลักการ คุณค่า แนวคิด ที่มา และธรรมชาติของการคิดเชิงระบบ การคิดเชิงระบบกับองค์กรการเรียนรู้ การคิดเชิงระบบกับการแก้ปัญหา การนำหลักการคิดเชิงระบบไปใช้กับสาขาวิชาต่างๆ ประยุกต์การคิดเชิงระบบกับการแก้ปัญหาลักษณะต่างๆ

จำนวนชั่วโมงเรียนรู้

จำนวนชั่วโมงเรียนรู้ทั้งหมด 12 ชั่วโมงเรียนรู้ (จำนวนชั่วโมงสื่อวีดิทัศน์ 4 ชั่วโมง 12 นาที)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

1. ผู้เรียนสามารถอธิบายความหมาย หลักการ ความสำคัญ และธรรมชาติของการคิดเชิงระบบได้

2. ผู้เรียนสามารถอธิบายแนวคิดทฤษฎีระบบได้

3. ผู้เรียนสามารถพัฒนากระบวนการคิดเชิงระบบได้

4. ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์สภาพการณ์ปัจจัยสาเหตุของปัญหา ค้นหารูปแบบ และความเชื่อมโยงระหว่างสาเหตุ กับผลของปัญหาได้

5. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้หลักการคิดเชิงระบบในการแก้ปัญหาในลักษณะต่างๆได้

คุณสมบัติผู้เรียน

นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ทุกเพศ ทุกวัย ที่สนใจสามารถเรียนได้

เกณฑ์การวัดผล

เข้าทำแบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรมในบทเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน

ผู้เรียนมีคะแนนรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 70% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับประกาศนียบัตรในระบบได้

ทีมผู้รับผิดชอบรายวิชา MOOC

Course Staff Image #1

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหลัก

ดร.ภูเบศ เลื่อมใส
ภาควิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

Course Staff Image #2

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาร่วม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุขมิตร กอมณี
ภาควิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

Course Staff Image #2

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาร่วม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดำรัส อ่อนเฉวียง
ภาควิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ติดต่อผู้สอน
onchawiank@gmail.com

cc

Creative commons สัญญาอนุญาตสิทธิ์

“สื่อการสอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Thai MOOC (thaimooc.org)
และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons ด้วยเงื่อนไข CC BY NC SA”

Enroll