ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การต่อต้านการทุจริตในประเทศไทย | Anti-Corruption in Thailand


CMU

รายวิชาเรียนตามอัธยาศัย

รายวิชานี้ได้ปรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน เป็น "การเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัย (Self-Paced)"

เกี่ยวกับรายวิชา

ความหมายของการทุจริตในสังคมไทย มุมมองของภาคส่วนต่างๆต่อการทุจริตในสังคมไทย สาเหตุการทุจริตในสังคมไทย รูปแบบและผลกระทบของการทุจริตในสังคมไทย กฎหมายเกี่ยวกับการต่อต้านการทุจริตของไทย กรณีศึกษาการทุจริตในสังคมไทย และแนวทางการแก้ไขญหาการทุจริตในสังคมไทย

จำนวนชั่วโมงเรียนรู้ทั้งหมด 10 ชั่วโมงการเรียนรู้ (จำนวนชั่วโมงสื่อวีดิทัศน์ 3 ชั่วโมง 30 นาที)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : ผู้เรียนสามารถ

  1. อธิบายพฤติกรรมการทุจริตที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ปัจจุบัน
  2. วิเคราะห์สาเหตุของการทุจริต
  3. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผลกระทบของการทุจริต
  4. เสนอแนะแนวทางเพื่อรณรงค์แก้ไขปัญหาการทุจริต

คุณสมบัติผู้เรียน

นักศึกษาและบุคคลทั่วไป

เกณฑ์การวัดผลและประเมินผลในรายวิชา

ทำแบบทดสอบหลังเรียนผ่านร้อยละ 70

ผู้สอนประจำรายวิชา

Course Staff Image #2

รองศาสตราจารย์ ดร.ธันยวัฒน์ รัตนสัค
(Associate Professor Thanyawat Rattanasak, Ph.D.)

อาจารย์ผู้สอน คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
thanyawat.r@cmu.ac.th

Course Staff Image #2

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พจนา พิชิตปัจจา
(Assistance Professor Pojjana Pichitpatja, Ph.D.)

อาจารย์ผู้สอน คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
pojjana.cmu@gmail.com

สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์
CREATIVE COMMON สัญญาอนุญาตสิทธิ์

รายวิชาและสื่อการสอนของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่นี้ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Thai MOOC (thaimooc.org) และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons 4.0 (นานาชาติ) ด้วยเงื่อนไข CC-BY-NC-SA (This work by Chiang Mai University, as a part of Thai MOOC (thaimooc.org) project and is licensed under a Creative Commons Attribution-Non Commercial-Share Alike 4.0 International License.).
Enroll