ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การเขียนโปรแกรม R สำหรับวิทยาการข้อมูล | R Programming for Data Science


CMU
ปิดการลงทะเบียนแล้ว

thaimooc.ac.th


รายวิชานี้ได้ปรับเป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัย (Self-Paced Learning)

คำอธิบายรายวิชา

การเขียนโปรแกรม R เบื้องต้น การสำรวจข้อมูล และการมองภาพข้อมูล การวิเคราะห์ความสัมพันธ์จากข้อมูลขนาดใหญ่ การจำแนกกลุ่มข้อมูล การพยากรณ์ การวิเคราะห์แบ่งกลุ่ม

จำนวนชั่วโมงเรียนรู้

จำนวนชั่วโมงเรียนรู้ทั้งหมด 10 ชั่วโมงเรียนรู้ (จำนวนชั่วโมงสื่อวีดิทัศน์ 3 ชั่วโมง 30 นาที)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

1. ผู้เรียนสามารถอธิบายการใช้โปรแกรม R เบื้องต้น

2. ผู้เรียนสามารถอธิบายการใช้โปรแกรม R ในการจัดการข้อมูล สำรวจข้อมูล การมองภาพข้อมูล

3. ผู้เรียนสามารถอธิบายการใช้โปรแกรม R ในการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น

4. ผู้เรียนสามารถอธิบายการใช้โปรแกรม R ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์จากข้อมูลขนาดใหญ่ การจำแนกกลุ่มข้อมูล การพยากรณ์ การวิเคราะห์แบ่งกลุ่ม และสรุปผลได้อย่างถูกต้อง

คุณสมบัติผู้เรียน

นักศึกษาระดับปริญญาตรี นักศึกษาระดับปริญญาโท และผู้ที่มีความสนใจเรียนเรื่องการใช้โปรแกรม R สำหรับวิทยาการข้อมูล

เกณฑ์การวัดผล

เข้าทำแบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรมในบทเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน

ผู้เรียนมีคะแนนรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 70% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับประกาศนียบัตรในระบบได้

ทีมผู้รับผิดชอบรายวิชา MOOC

Course Staff Image #1

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหลัก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมผกา ธานินพงศ์
ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Course Staff Image #2

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาร่วม

ดร.ภวัต ภักดิศรานุวัต
ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Course Staff Image #2

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาร่วม

ดร.วิรินท์รดา วงค์รินทร์
ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Course Staff Image #2

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาร่วม

ดร.พิมพ์วรัชญ์ นันทพฤทธ์
ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Course Staff Image #2

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาร่วม

อาจารย์ อัญมณี กุมมาระกะ
ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

cc

Creative commons สัญญาอนุญาตสิทธิ์

“สื่อการสอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Thai MOOC (thaimooc.org)
และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons ด้วยเงื่อนไข CC BY NC SA”