อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหลัก
นายณรงค์ศักดิ์ ราวะรินทร์
ตำแหน่ง นักวิจัย
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของอักษรไทยน้อย ที่ใช้บันทึกเรื่องราวต่างๆ ด้วยภาษาในอดีต ซึ่งมีภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรมอีสาน อันสะท้อนให้เห็นถึงประวัติศาสตร์ทางด้านภูมิปัญญา เช่น ตำรายา คาถาอาคม กฎหมายโบราณ หลักธรรมคำสอนทางพระพุทธศาสนา ประวัติศาสตร์ พงศาวดาร โหราศาสตร์ วรรณคดี
จำนวนชั่วโมงเรียนรู้ทั้งหมด 4 ชั่วโมงเรียนรู้ (จำนวนชั่วโมงสื่อวีดิทัศน์ 1 ชั่วโมง 24 นาที)
1. ผู้เรียนสามารถบอกเล่าประวัติความเป็นมาและความสำคัญของตัวอักษรไทยน้อย
2. ผู้เรียนสามารถอธิบายลักษณะของพยัญชนะอักษรไทยน้อย
3. ผู้เรียนสามารถอธิบายลักษณะของสระอักษรไทยน้อย
4. ผู้เรียนสามารถอธิบายวิธีการประสมคำในอักษรไทยน้อย
5. ผู้เรียนสามารถอธิบายรูปแบบของเครื่องหมาย วรรณยุกต์ และตัวเลขอักษรไทยน้อย
6. ผู้เรียนสามารถนำความรู้เกี่ยวกับอักษรไทยน้อยไปบูรณาการในสาขาวิชาของผู้เรียน
นักเรียน นิสิต นักศึกษา ประชาชนทั่วไปที่สนใจเรียนรู้ตัวอักษรไทยน้อย
เข้าทำแบบทดสอบระหว่างเรียนทุกบท 60%
แบบทดสอบหลังเรียน (Final Exam) 40%
ผู้เรียนมีคะแนนรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 70% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับประกาศนียบัตรในระบบได้
นายณรงค์ศักดิ์ ราวะรินทร์
ตำแหน่ง นักวิจัย
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
นายนิพล สายศรี
ตำแหน่ง นักวิชาการศึกษา
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
e-Mail : nipon.s@msu.ac.th เบอร์โทรศัพท์ : 043-721-686
“สื่อการสอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Thai MOOC (thaimooc.org)
และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons ด้วยเงื่อนไข CC BY NC SA”