(Asst. Prof. Dr.Wasin Panyavuttrakul)
ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
E-mail : ajtop_1@hotmail.com
(Assoc. Prof. Dr.Chalong Chatruprachewin)
ภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อาจารย์ผู้ช่วยสอน เชี่ยวชาญด้านภูมิปัญญากีฬาไทยและท้องถิ่น
E-mail : leader_99@hotmail.co.th
(Asst. Prof. Narongkan Rodsap)
ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อาจารย์ผู้ช่วยสอน เชี่ยวชาญด้านภาษาถิ่นและภาษาชาติพันธุ์
E-mail : aranyikaram@hotmail.com
(Mrs.Chanida Puaksom)
ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อาจารย์ผู้ช่วยสอน เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
E-mail : chanida.puaksom@gmail.com
ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อาจารย์ผู้ช่วยสอน เชี่ยวชาญด้านการจัดการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และสินค้าวัฒนธรรม
E-mail : saranya50147447@gmail.com
นโยบายการวัดประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน การผ่าน/ไม่ผ่าน และใบประกาศนียบัตร (หากมี)
การวัดประเมินผลการเรียนรู้ เกณฑ์การประเมินผลทั้งสิ้นร้อยละ 100 แบ่งออกเป็นการประเมินผล ดังนี้
1. มีการประเมินผลการเข้าร่วมทำกิจกรรมและแบบฝึกหัดในแต่ละหัวข้อการเรียนรู้คิดเป็นคะแนนสะสม ร้อยละ 60
2. มีการประเมินผลแบบทดสอบท้ายบทเรียน เป็นข้อสอบแบบปรนัย ร้อย 40
3. มีการระบุเกณฑ์ ผ่าน/ไม่ผ่าน โดยมีคะแนนรวม ผ่านที่ร้อยละ 60
จำนวนชั่วโมงเรียนทั้งหมด/จำนวนหน่วยกิต (หากเป็นรายวิชาในหลักสูตรปกติ)
25 ชั่วโมง
จำนวนชั่วโมง ที่ต้องใช้ในการเรียนรู้ต่อสัปดาห์/หรือต่อครั้ง
1-3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ / จำนวน 9 สัปดาห์
ความรู้พื้นฐานที่ต้องมีมาก่อน (หากมี)
สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมพื้นฐานทั่วไปและสามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้
ระดับของเนื้อหารายวิชา
เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา (ระบุ).......อารยธรรมและภุมิปัญญาท้องถิ่น........
ประเภทของการเรียนในรายวิชา (เรียนด้วยตนเอง เรียนแบบกลุ่ม)
เรียนด้วยตนเอง
ระดับความยากของเนื้อหารายวิชา
ระดับเบื้องต้น
กลุ่มเป้าหมาย ของรายวิชา
นักศึกษาระดับ ปริญญาตรีในรายวิชาพื้นฐานมหาวิทยาลัย
คำแนะนำในการเรียนรู้
ผู้เรียนควรศึกษาคำแนะนำในการเรียน ก่อนที่จะศึกษาเนื้อหาบทเรียนและปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆ ในแต่ละสัปดาห์ รวมทั้งเข้าเรียนและทำกิจกรรมครบทุกบทเรียนที่จัดขึ้น เช่น การอภิปราย การทำแบบฝึกหัด/ใบงานทุกชุด (แบบฝึกหัดมีส่วนที่คิดคะแนนและไม่คิดคะแนน เพื่อทดสอบความรู้และทำให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในระหว่างเรียนและเป็นการฝึกพัฒนาผู้เรียนเท่านั้น)
แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ (ระบุเอกสาร ตำรา เว็บไซต์ ฯลฯ)
ธิดา สาระยา.รัฐโบราณภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : กำเนิดและพัฒนาการ.
กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เมืองโบราณ,2537.
ธิดา สาระยะ.อารยธรรมไทย.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เมืองโบราณ, 2539.
วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 7 ตำนานสมเด็จพระบูรพกษัตริย์แห่งสยาม....กรุงเทพฯ : ดีเอ็มจี, 2558.
วศิน ปัญญาวุธตะกูล. ภูมิปริทัศน์ภาคเหนือตอนล่าง สายธารอารยธรรมโขง-สาละวิน, 2556.
บุณยสฤษฎ์ อเนกสุข. ยล เยี่ยม เยือน เหย้า : แนวคิดและทฤษฎีว่าด้วยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม,
พิษณุโลก : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2558.
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาอารธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น.
Creative common สัญญาอนุญาตสิทธิ์
“สื่อการสอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Thai MOOC (thaimooc.org) และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons ด้วยเงื่อนไข CC BY NC SA”