ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การจัดการสื่อสารในภาวะวิกฤต (Crisis Communication)


RBAC

 

องค์กรอยู่รอดและยั่งยืน...ด้วยการจัดการสื่อสารในภาวะวิกฤต

การจัดการสื่อสารในภาวะวิกฤต

About This Course

ความหมายและความสำคัญของภาวะวิกฤตที่ส่งผลกระทบต่อองค์กร การสื่อสารความเสี่ยง การวางแผนการสื่อสารภาวะวิกฤต กลยุทธ์การสื่อสารและการตอบโต้ การนำเสนอข่าวในภาวะวิกฤต โดยการประยุกต์ทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารเพื่อการจัดการวางแผนจนถึงการปฏิบัติการในการจัดการภาวะวิกฤต


Course Staff

/assets/courseware/v1/d14874d80cb90b35432bf59eb07b5540/asset-v1:RBAC+RBAC003+2019+type@asset+block/teacher.png

ดร.ภาพร พุฒิธนกาญจน์

คณบดีคณะการสื่อสารดิจิทัล มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต

email: rbac.mooc@gmail.com

ข้อมูลเพิ่มเติม

เวลาในการศึกษา : 10 ชั่วโมงการเรียนรู้ (3ชั่วโมง 30นาทีสื่อวีดิทัศน์)
เวลาในการศึกษาต่อสัปดาห์ : 2 ชั่วโมงการเรียนรู้ (เรียนแบบออนไลน์ 100%)
ประเภทของการเรียนในรายวิชา : เรียนด้วยตนเอง
กำหนดการสอน : เนื้อหาทั้งสิ้น 5 บท
ค่าธรรมเนียมการเรียน : ไม่มี
สื่อการเรียนรู้ : วีดิทัศน์สื่อการเรียนรู้ เอกสารประกอบการสอน กรณีศึกษา
และแบบทดสอบที่ใช้ในการเรียนการสอน
ภาษาหลักของสื่อการสอน : ภาษาไทย
ระดับความยากง่ายของเนื้อหา : ระดับเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานที่ต้องมี : -
คุณสมบัติผู้เรียน : สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมพื้นฐานทั่วไป
สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : 
  • 1. ผู้เรียนสามารถอธิบายความหมายและความสำคัญของภาวะวิกฤตได้
  • 2. ผู้เรียนสามารถอธิบายหลักการสื่อสารและองค์ประกอบที่สำคัญในการสื่อสารที่เกี่ยวกับภาวะวิกฤตได้
  • 3. ผู้เรียนสามารถอธิบายกระบวนการจัดการด้านการสื่อสารในภาวะวิกฤตได้
  • 4. ผู้เรียนสามารถวางแผนการปฏิบัติการในการจัดการภาวะวิกฤตได้
  • 5. ผู้เรียนสามารถประยุกต์หลักการสื่อสารกับการจัดการในภาวะวิกฤตได้อย่างเหมาะสม
  • รายวิชานี้เหมาะสมกับ :  นิสิต-นักศึกษาระดับปริญญาตรี ไม่จำกัดสาขา / นักเรียน / ประชาชนทั่วไป
    เกณฑ์การผ่านวิชา และได้ใบประกาศนียบัตร (หากมี): ผู้เรียนได้รับประกาศนียบัตรอิเล็กทรอนิกส์ (ถ้ามี) เมื่อเข้าร่วมกิจกรรมพร้อมผ่านการวัดผลทั้งหมด และได้ผลการปรเมินไม่น้อยกว่า 70% โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่ม

    เนื้อหาการสอน

    • แนะนำรายวิชา
    • แนะนำรายวิชา และทำกิจกรรมก่อนการเรียนรู้
    • แบบสอบถามก่อนเริ่มเรียน
    • แบบทดสอบความรู้เบื้องต้นก่อนเริ่มเรียน
    • แนะนำวิชาและบทเรียนออนไลน์ / ทำความรู้จักเพื่อนร่วมเรียน (Discussion)
    • บทที่ 1: ความรู้เกี่ยวกับภาวะวิกฤต
    • 1.1 ความหมายของภาวะวิกฤต
    • 1.2 การจัดการภาวะวิกฤตตามแนวคิดของ Coombs
    • 1.3 การจัดการภาวะวิกฤตตามแนวคิดของ Fearn-Banks
    • 1.4 การจัดการภาวะวิกฤตตามแนวคิดของ Nyblom
    • 1.5 คุณลักษณะและตัวอย่างของภาวะวิกฤต
    • 1.6 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะวิกฤติ
    • เอกสารประกอบการเรียน
    • อภิปราย
    • แบบฝึกหัดหลังเรียน
    • บทที่ 2: ความรู้เกี่ยวกับการสื่อสาร
    • 2.1 ความหมายของการสื่อสาร
    • 2.2 องค์ประกอบ : ผู้ส่งสาร
    • 2.3 องค์ประกอบ : สาร
    • 2.4 องค์ประกอบ : สื่อ
    • 2.5 องค์ประกอบ : ผู้รับสาร
    • 2.6 ปัจจัยของผู้ส่งสาร
    • 2.7 ลักษณะของสาร
    • 2.8 ลักษณะของสื่อ
    • 2.9 องค์ประกอบสำคัญของการสื่อสารในภาวะวิกฤต
    • เอกสารประกอบการเรียน
    • อภิปราย
    • แบบฝึกหัดหลังเรียน
    • บทที่ 3: กระบวนการจัดการการสื่อสารในภาวะวิกฤต
    • 3.1 กลยุทธ์การตอบโต้ภาวะวิกฤต : กลุ่มปฏิเสธ
    • 3.2 กลยุทธ์การตอบโต้ภาวะวิกฤต : กลุ่มลดความสำคัญ
    • 3.3 กลยุทธ์การตอบโต้ภาวะวิกฤต : กลุ่มบูรณะ
    • 3.4 กลยุทธ์การตอบโต้ภาวะวิกฤต : กลุ่มเสริม
    • 3.5 การวางแผนการสื่อสารกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
    • 3.6 การจัดตั้งหน่วยงานเฉพาะกิจ
    • 3.7 การสื่อสารความเสี่ยง
    • เอกสารประกอบการเรียน
    • อภิปราย
    • แบบฝึกหัดหลังเรียน
    • บทที่ 4: หลักปฏิบัติการจัดการสื่อสารภาวะวิกฤต
    • 4.1 แนวทางการสื่อสารกับพนักงานในองค์กร
    • 4.2 การวางแผนเพื่อการดำเนินการสื่อสารในภาวะวิกฤต
    • 4.3 รูปแบบของการสื่อสาร : ระยะก่อนวิกฤต
    • 4.4 รูปแบบของการสื่อสาร : ระยะเหตุการณ์วิกฤต
    • 4.5 รูปแบบของการสื่อสาร : ระยะหลังวิกฤต
    • 4.6 การสื่อสารกับสื่อมวลชนในระหว่างวิกฤต
    • 4.7 สิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติในการให้สัมภาษณ์สื่อมวลชน
    • 4.8 สิ่งที่ควรปฏิบัติในการให้สัมภาษณ์สื่อมวลชน
    • 4.9 การสื่อสารกับผู้รับสารภายนอกองค์กรในระหว่างวิกฤต
    • 4.10 การสร้างภาพลักษณ์
    • 4.11 การใช้สื่อใหม่ในการสื่อสารภาวะวิกฤต
    • เอกสารประกอบการเรียน
    • อภิปราย
    • แบบฝึกหัดหลังเรียน
    • บทที่ 5: แนวทางการประยุกต์การจัดการสื่อสารในภาวะวิกฤต
    • 5.1 กรณีศึกษาการสื่อสารในภาวะวิกฤต
    • 5.2 สิ่งที่ได้จากการวิเคราะห์กรณีศึกษาเอกสารประกอบการเรียน
    • เอกสารประกอบการเรียน
    • อภิปราย
    • แบบฝึกหัดหลังเรียน

    ประมวลรายวิชา



    เครือข่ายอุดมศึกษาภาคกลางตอนบน

    พัฒนาในกรอบความร่วมมือของ เครือข่ายอุดมศึกษาภาคกลางตอนบน

    สอนโดย คณะการสื่อสารดิจิทัล มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต
    Instructed by Faculty Of Digital Communication at Rattana Bundit University
    มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต
    ผลิตและอำนวยการผลิต โดย มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต
    Created by Rattana Bundit University
    CC-BY-NC-SA
    รายวิชาและสื่อของมหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Thai MOOC (thaimooc.org) และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons 4.0 (นานาชาติ) ด้วยเงื่อนไข CC-BY-NC-SA This work by Sripatum University is a part of Thai MOOC (thaimooc.org) project and is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 4.0 International License.
    Enroll