ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การสร้างอินโฟกราฟิกเบื้องต้น (Basic Infographic)


THESIS
ปิดการลงทะเบียนแล้ว

รายวิชานี้เป็นส่วนหนึ่งในงานวิทยานิพนธ์ เปิดให้ลงทะเบียนจนถึงวันที่ 1 สิงหาคม 2564 นะคะ สำหรับผู้เรียนที่ลงทะเบียนเรียนแล้ว สามารถเรียนได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2564 นี้เท่านั้นนะคะ

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาการสร้างอินโฟกราฟิกเบื้องต้น (Basic Infographic) นี้เป็นรายวิชาวิจัยประกอบวิทยานิพนธ์ ซึ่งในรายวิชานี้ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการทำความรู้จัก Infographic หลักการออกแบบและการสร้าง Infographic ซึ่งประกอบไปด้วย การเตรียมเนื้อหา การออกแบบ และข้อควรหลีกเลี่ยงในการออกแบบ ตลอดจนการสร้าง Infographic ทั้งในรูปแบบ Still Infographic ด้วยโปรแกรม Microsoft Visio และ Motion Infographicnfographic ด้วย Powtoon โดยจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้ร่วมกัน (Collabarative Learning) ให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดและเทคนิคการทำงานด้วยกันคิดและเทคนิคการสร้างงานด้วยกัน

จำนวนชั่วโมงเรียนรู้

จำนวนชั่วโมงเรียนรู้ทั้งหมด 5 ชั่วโมงเรียนรู้ (จำนวนชั่วโมงสื่อวีดิทัศน์ 1 ชั่วโมง 53 นาที)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

1. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ Infographic ได้

2. ผู้เรียนเข้าใจหลักการสร้าง Infographic ได้

3. ผู้เรียนสามารถสร้างชิ้นงาน Still Infographic ด้วยโปรแกรม Microsoft Visio ได้

4. ผู้เรียนสามารถสร้างชิ้นงาน Motion Infographic ด้วย Powtoon ได้

คุณสมบัติผู้เรียน

นักศึกษาและบุคคลทั่วไปที่สนใจสามารถเรียนได้

เกณฑ์การวัดผล

เข้าทำแบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรมในบทเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน

ผู้เรียนมีคะแนนรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 60% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับประกาศนียบัตรในระบบได้

ทีมผู้รับผิดชอบรายวิชา MOOC

Course Staff Image #1

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหลัก

นางสาวสิริกัญญา มณีนิล
ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Course Staff Image #2

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาร่วม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิฉาย ธนะมัย
ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ช่องทางติดต่อทีมผู้สอน

e-Mail neung_perfect@hotmail.com เบอร์ 0859084987

cc

Creative commons สัญญาอนุญาตสิทธิ์

“สื่อการสอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Thai MOOC (thaimooc.org)
และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons ด้วยเงื่อนไข CC BY NC SA”