อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหลัก
รองศาสตราจารย์ ดร.วิภาวรรณ ชะอุ่ม เพ็ญสุขสันต์
สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
e-Mail: wipawanp@gmail.com
หลักการ แนวคิดและความสำคัญเรื่องอาหารเพื่อสุขภาพและการชะลอวัย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของบุคคลในแต่ละช่วงวัย การสร้างเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การให้คำแนะนำเรื่องอาหารไทยเพื่อส่งเสริมสุขภาพและการชะลอวัย |
จำนวนชั่วโมงเรียนรู้ทั้งหมด 6 ชั่วโมงเรียนรู้ (จำนวนชั่วโมงสื่อวีดิทัศน์ 3 ชั่วโมง 3 นาที)
1. ผู้เรียนสามารถอธิบายหลักการ แนวคิด และความสำคัญเรื่องอาหารกับสุขภาพและการชะลอวัยได้
2. ผู้เรียนสามารถบอกปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการสร้างเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพและการชะลอวัยของบุคคลในแต่ละช่วงวัยได้
3. ผู้เรียนสามารถบอกวิธีการคัดเลือกวัตถุดิบสำหรับการปรุงอาหาร และวิธีการปรุงอาหารไทยที่ดีต่อสุขภาพและการชะลอวัยได้
4. ผู้เรียนสามารถให้คำแนะนำและยกตัวอย่างอาหารไทยเพื่อป้องกันการเกิดโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่พบได้บ่อยได้
5. ผู้เรียนสามารถให้คำแนะนำและยกตัวอย่างผลไม้ ขนมไทย อาหารและเครื่องดื่มที่มีส่วนประกอบของสารต้านอนุมูลอิสระเพื่อการชะลอวัยได้
นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ทุกเพศ ทุกวัย ที่สนใจสามารถเรียนได้
เข้าทำแบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรมในบทเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน
ผู้เรียนมีคะแนนรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 70% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับประกาศนียบัตรในระบบได้
รองศาสตราจารย์ ดร.วิภาวรรณ ชะอุ่ม เพ็ญสุขสันต์
สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
e-Mail: wipawanp@gmail.com
อาจารย์ ดร.ธิดารัตน์ เอกศิรินิมิตร
สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
e-Mail: athidara@gmail.com
คุณภัคจิรา เบญญาปัญญา
นักวิชาการโภชนาการชำนาญการพิเศษ
หัวหน้างานโภชนาการโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
e-Mail: bpakjira@medicine.psu.ac.th
คุณกาญจนา ฉิมเรือง
นักวิชาการโภชนาการชำนาญการ
งานโภชนาการโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
e-Mail: jkanjana@medicine.psu.ac.th
คุณพรพิศ เรืองขจร
นักวิชาการโภชนาการชำนาญการพิเศษ
งานโภชนาการโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
e-Mail: rponpis@medicine.psu.ac.th
คุณองค์อร รัตนพันธ์
นักวิชาการสำนักวิชาพยาบาลศาสตร์
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
e-Mail: ongorn.ra@wu.ac.th
“สื่อการสอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Thai MOOC (thaimooc.org)
และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons ด้วยเงื่อนไข CC BY NC SA”